The trade4trade logo symbolizing global trade

การเงินเชิงพฤติกรรม

จิตวิทยาการเทรดถือเป็นสาขาที่น่าสนใจอย่างยิ่ง หากคุณพิจารณาถึงผลกระทบของปัจจัยทางด้านจิตใจและอารมณ์ที่มีต่อผลการเทรด

There are so many facets of a person’s behaviour that play a role in influencing financial decision making.

 

Combine this with the stress that the market volatilities and aggressive price fluctuations evoke, it’s no surprise that the study of feelings and how they drive traders to act certain ways has become so popular.

 

Interwoven within this mesh of psychological concepts is behavioural finance. Referred to as a subset of behavioural economics, behavioural finance suggests that investor behaviours are influenced by psychological elements and biases.

It further proposes that variances within financial markets may be attributed to these factors, for e.g., aggressive price movements of particular asset like stocks. 

 

In fact, growing recognition of this research has prompted renowned institutions like the Securities and Exchange Commission to assign staff to further explore the field of behavioural finance, and its impact on financial transactions.

อิทธิพลของอคติ

One of the core components of behavioural finance has to do with the influence of biases. More specifically, the notion is that biases can be categorised into one of 5 core concepts influencing the market and/or trading outcomes. These are:

พฤติกรรมแห่ตามฝูงชน

Herd behaviour refers to those instances when investors or other financial practitioners copy the financial behaviours of a larger majority (i.e., the herd). This behaviour is frequently witnessed in the stock market and often the reason for selloffs or rallies.

ช่องว่างทางอารมณ์

Emotional gap pertains to decision making driven by intense emotions or emotional stress. This behaviour is often the reason why people make illogical decisions.

พฤติกรรมเข้าข้างตนเอง

Self-attribution involves making decisions with an overconfident reliance on one’s own knowledge or skill. This tends to arise from one’s existing proficiency in a specific domain. In this instance, an investor may deem their knowledge more favourably than others, even if this isn’t objectively true.

พฤติกรรมการแบ่งบัญชีในใจ

แนวคิดนี้เป็นแนวคิดที่พัฒนาโดย Richard Thaler นักเศรษฐศาสตร์ผู้ซึ่งชนะรางวัลโนเบล การแบ่งบัญชีในใจหมายความถึงมูลค่าที่แต่ละบุคคลกำหนดให้กับเงินจำนวนที่เท่ากัน ซึ่งโดยทั่วไปมูลค่ามักจะอิงตามเกณฑ์ส่วนตัวและบ่อยครั้งอาจนำไปสู่การลงทุนหรือการตัดสินใจเทรดอย่างไม่สมเหตุสมผล

พฤติกรรมการตั้งเกณฑ์ในการตัดสินใจ

พฤติกรรมการตั้งเกณฑ์ในการตัดสินใจในการเงินเชิงพฤติกรรมคือการที่ผู้คนใช้ข้อมูลที่ไม่เกี่ยวข้อง เช่น ราคาเริ่มต้นของหลักทรัพย์ มาเป็นเกณฑ์มาตรฐานอ้างอิงสำหรับการตัดสินใจเกี่ยวกับหลักทรัพย์นั้นในภายหลังโดยไม่รู้ตัว

นอกจากนี้การวิจัยและการวิเคราะห์ภายในขอบเขตของการเงินเชิงพฤติกรรมยังได้เปิดเผยถึงอคติและลักษณะนิสัยเฉพาะแปลกๆ ของบรรดานักลงทุนไว้ดังนี้:

อคติจากการพยายามยืนยันความเชื่อของตน:

occurs when investors favour information that aligns with their existing beliefs, even if flawed.

อคติจากประสบการณ์หรือการให้น้ำหนักกับสิ่งที่เพิ่งเกิดขึ้น:

เกิดขึ้นจากเหตุการณ์ล่าสุดที่เป็นตัวกำหนดการรับรู้ของนักลงทุนเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคต

การเกลียดชังความสูญเสีย:

คือการมีแนวโน้มให้ความสำคัญกับการหลีกเลี่ยงความสูญเสียมากกว่าพยายามทำให้ได้ผลกำไรมา ซึ่งนำไปสู่พฤติกรรมไม่ชอบความเสี่ยง

อคติจากความคุ้นเคย:

manifests when investors favour familiar investments, potentially limiting diversification. This often leads to a preference for domestic or locally known investments, neglecting broader market exposure.

อคติแต่ละประเภทได้สะท้อนให้เห็นถึงแนวโน้มการรับรู้ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจทางด้านการเงิน ซึ่งส่งผลต่อวิธีที่นักลงทุนประเมินและตอบสนองต่อข้อมูล เหตุการณ์ และความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น

ขอบคุณสําหรับการเยี่ยมชม T4Trade

เว็บไซต์นี้ไม่ได้มุ่งเป้าไปที่ผู้อยู่อาศัยในสหภาพยุโรปและอยู่นอกกรอบการกํากับดูแลของยุโรปและ MiFID II

โปรดคลิกด้านล่างหากคุณต้องการดําเนินการต่อไปยัง T4Trade ต่อไป

ขอบคุณสําหรับการเยี่ยมชม T4Trade

This website is not directed at UK residents and falls outside the European and MiFID II regulatory framework, as well as the rules, guidance and protections set out in the UK Financial Conduct Authority Handbook.

โปรดคลิกด้านล่างหากคุณต้องการดําเนินการต่อไปยัง T4Trade ต่อไป